Home
เพลงสถาบัน
ติวสอบ
สารจากประธานฯ
กระดานสนทนา
กิจกรรม
ลิงค์
มีฎีกามาบอก
กำหนดการ

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

นิติกรรมสัญญา

    1. นิติกรรม
    2. -นิติเหตุ (เหตุการณ์ธรรมชาติ, นิติกรรม, ละเมิด)

      -นิติกรรม มีองค์ประกอบ 5 ประการ คือ การกระทำ, ชอบด้วยกฎหมาย, มุ่งผูกนิติสัมพันธ์, สมัครใจ, ก่อ เปลี่ยนแปลง ดอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ์

      -“การกระทำ” ชัดแจ้ง, ปริยาย, นิ่ง

      -“ชอบด้วยกฎหมาย” ต้องไม่ต้องห้ามตาม ก.ม., ไม่พ้นวิสัย, ไม่ขัดต่อความสงบฯ

      -151 ต้องผ่าน 150 คือมีวัตถุประสงค์ชอบด้วย ก.ม. แต่เป็นการขัดความสงบฯ

      -แบบของนิติกรรม ทำเป็นหนังสือ, จดทะเบียน, ทำเป็นหนังสือต่อเจ้าพนักงาน, ทำเป็นหนังสือและจดทะเบียน

      -153 ทำโดยผู้เยาว์, คนวิกลจริต, คนไร้ความสามารถ, คนเสมือนไร้ความสามารถ

      -154 ถ้าผู้แทนนิติบุคคลมีผลประโยชน์ขัดกับนิติบุคคล จะเป็นผู้แทนไม่ได้

      -155 ว1 ระหว่างกัน เป็นโมฆะ แต่จะยกข้อต่อสู้ต่อคนนอกที่สุจริตและเสียหายไม่ได้

      -155 ว2 นำก.ม. ของนิติกรรมที่ถูกอำพราง มาใช้บังคับ

      -สำคัญผิด 156 สำคัญผิดในสาระสำคัญ, 157 สำคัญผิดในคุณสมบัติ

      -ถูกกลฉ้อฉล ต้องถึงขนาด ถ้ากลฉ้อฉลเพื่อเหตุจ่ายแต่ค่าสินไหม

      -ข่มขู่ ต้องถึงขนาด ถ้าเป็นเพียงการใช้สิทธิตามปกตินิยม หรือมีสิทธิ์ ไม่ใช่ข่มขู่

      -การแสดงเจตนา (ฝ่ายเดียว โดยเคร่งครัด, หรือต้องมีผู้รับการแสดงเจตนา 168, 169, 170, 171

      -โมฆะกรรม ไม่อาจให้สัตยาบัน, ผู้มีส่วนได้เสียทุกคนอ้างได้, ใช้ลาภมิควรได้

      โมฆียกรรม ให้สัตยาบันได้, บุคคล 175 บอกล้างหรือสัตยาบันได้, ใช้กลับคืนสู่ฐานะเดิม

      -เงื่อนไข หรือเงื่อนเวลา (182, 183, 191 ถึง 193, 193/24, 193/24)

    3. การก่อสัญญา
    4. -คำเสนอ นิติกรรมฝ่ายเดียวที่ต้องมีการแสดงเจตนา, ชัดแจ้งเท่านั้น, มีความชัดเจนแน่นอน, ต่อบุคคลเฉพาะเจาะจงหรือต่อสาธารณชนเท่านั้น, ถอนไม่ได้, ไม่ใช้ 169 ว 2

      -คำสนอง นิติกรรมฝ่ายเดียวที่ต้องมีผู้รับการแสดงเจตนา, ถอนไม่ได้, ไม่ใช้ 360, ใช้ 169 ว2

      คำสนองล่วงเวลาหรือมีข้อไข

      -สัญญาเกิดที่ไหน (361, 366, 367, 368)

    5. ผลของสัญญา
    6. -สัญญาต่างตอบแทน 369 ถึง 372 (ให้ดูเรื่องบาปเคราะห์ ดูว่าโทษเจ้าหนี้หรือลูกหนี้ได้หรือไม่)

      สัญญาต่างตอบแทนที่เป็นการโอนทรัพย์เฉพาะสิ่งและกรรมสิทธิ์โอนแล้ว

      สัญญาต่างตอบแทนที่เป็นการโอนทรัพย์เฉพาะสิ่งแต่กรรมสิทธิ์ยังไม่โอน

      สัญญาต่างตอบแทนที่ไม่เกี่ยวกับการโอนกรรมสิทธิ์

      -สัญญาเพื่อประโยชน์บุคคลภายนอก 374-376 สิทธิ์เกิดเมื่อถือเอา, ถือเอาแล้วเปลี่ยนแปลงไม่ได้

    7. มัดจำเบี้ยปรับ (เป็นสัญญาอุปกรณ์) (มัดจำต้องเป็นเงินและต้องให้ในขณะทำสัญญา)
    8. (เบี้ยปรับ มี 2 ชนิด คือเพื่อการไม่ชำระหนี้ และเพื่อการชำระหนี้ไม่ถูกต้อง)

    9. การเลิกสัญญา ปพพ.386-394 เป็นการเลิกสัญญาที่มีผลย้อนหลัง

-หนี้ระงับได้ 2 วิธี (1) ชำ, ปลด, หัก, แปลง, กลืน (2) ทำลายบ่อเกิดแห่งหนี้ด้วยการเลิกสัญญา

-เลิกสัญญามี 2 ประเภท (1) ระงับความผูกพันธ์ในอนาคต (2) เลิกสัญญาทีมีผลย้อนหลัง

-เลิกสัญญาที่มีผลย้อนหลังมี 2 กรณี (1) เลิกโดยข้อสัญญา (2) เลิกโดยข้อกฎหมาย

-เมื่อเลิกสัญญาแล้วเกิดผล 4 ประการ คืนสถานะเดิม, ไม่กระทบคนนอก, เรียกค่าเสียหาย, 392

ละเมิด

    1. ต้องรับผิดในการกระทำของตนเอง (420-424)
    2. -420 ผู้ใด กระทำ ต่อบุคคลอื่น โดยผิดกฎหมาย, จงใจหรือประมาทเลินเล่อ, ทำให้เขาเสียหาย

      -423 ต้องเกิดจากการไขข่าว, เกี่ยวกับชื่อเสียงเท่านั้น, ต้องโดยจงใจเท่านั้น

      -424 ไม่เอาองค์ประกอบทางอาญามาพิจารณาด้วย

    3. ต้องรับผิดในการกระทำของผู้อื่น (425-432)
    4. -425 นายจ้าง-ลูกจ้าง นายจ้างรับผิดในทางการที่จ้าง 427 ตัวการ-ตัวแทน ต้องไม่มีสินจ้าง

      -428 ผู้ว่าจ้าง-ผู้รับจ้าง ผู้รับจ้างต้องรับผิด เว้นแต่ในการงานที่สั่งให้ทำ, คำสั่งที่ให้, เลือกผู้รับจ้าง

      -429 ผู้เยาว์-บิดามารดาชอบด้วยกฎหมายรับผิด, คนวิกลจริตที่ศาลสั่งแล้ว-ผู้อนุบาลรับผิด

      เว้นแต่พิสูจน์ว่าใช้ความระมัดระวังพอแล้ว

      -430 ผู้รับผิดต้องเกิดโดย กฎหมาย, สัญญา, ข้อเท็จจริง (รวมบิดาไม่ชอบด้วยกฎหมาย)

      เว้นแต่พิสูจน์ว่าใช้ความระมัดระวังพอแล้ว

      -432 ผู้ร่วมกระทำต้องรับผิดร่วมกัน

    5. ต้องรับผิดในความเสียหายที่เกิดจากสัตว์ และทรัพย์ หรือความรับผิดโดยเด็ดขาด (433-437)

-433 สัตว์ เจ้าของหรือผู้รับเลี้ยงรับผิดเว้นแต่ระวังแล้วตามวิสัยของสัตว์หรืออย่างไรต้องเกิด

-434 โรงเรือน หรือสิ่งปลูกสร้างชำรุดหรือบำรุงรักษาไม่ดี ผู้ครองหรือเจ้าของต้องรับผิด

-436 ของตกล่นจากโรงเรือน หรือทิ้งขว้าง ผู้ครองโรงเรือนต้องรับผิด

-437 ว1 ยานพาหนะอันเดินด้วยเครื่องจักรกล ว2 ของเกิดอันตรายโดยสภาพ

เว้นแต่สุดวิสัย และความผิดของผู้เสียหายเอง

หนี้

    1. บุคคลสิทธิ, ทรัพยสิทธิ (บ่อเกิดแห่งสิทธิ, สิทธิหน้าที่, วัตถุแห่งสิทธิ, การใช้สิทธิ, อายุความ)
    2. สัญญา, ละเมิด (ผิดหน้าที่สัญญา-ผิดหน้าที่ทั่วไป, ความสมบูรณ์, ค่าเสียหาย, ผิดนัด, อายุความ)
    3. มูลแห่งหนี้ หรือบ่อเกิดแห่งหนี้ (สัญญา, ละเมิด, นอกสั่ง, ลาภมิควรได้, กฎหมายกำหนด)
    4. วัตถุแห่งหนี้ (กระทำการ, งดเว้นกระทำการ, โอนทรัพย์)
    5. ผลแห่งหนี้ (กำหนดเวลา 203, ลูกหนี้ผิดนัด 204-6, ผลการผิดนัด 216-7, 224, เจ้าหนี้ผิดนัด,
    6. ค่าสินไหม)

    7. การชำระหนี้พ้นวิสัย (ก่อนสัญญาเกิด, หลังสัญญาแต่ยังไม่เลือกการชำระหนี้, หลังเลือกการชำระหนี้)
    8. รับช่วงสิทธิ์ (คนนอก, ชำระหนี้แล้ว, โดยผลกฎหมายเท่านั้น, มี 5 กรณี)
    9. รับช่วงทรัพย์ (มี 2 หนี้, โดยผลกฎหมาย, ทรัพย์ถูกทำลาย, มี 2 กรณี คือ 228, 231)
    10. การใช้สิทธิเรียกร้อง (หนี้ 2 หนี้, ไม่ส่วนตัว, ลูกหนี้ขัดขืนเพิกเฉย, เจ้าหนี้เสียเปรียบ, ต้องเรียกลูกหนี้)
    11. เพิกถอนการฉ้อฉล (ไม่ใช้กับ ปพพ. 155 โมฆะอยู่แล้ว, ฝ่าฝืน วิพ 305, ปพพ. 1300, ปพพ. 1336
    12. ลูกหนี้ร่วม (หลายคน, หนี้เดียวกัน, ใช้หนี้โดยสิ้นเชิง, ผล 292-296)
    13. เจ้าหนี้ร่วม (หลายคน, หนี้เดียวกัน, สิทธิเรียกหนี้โดยสิ้นเชิง, ผล 299, 300)
    14. โอนสิทธิเรียกร้อง (โอนความเป็นเจ้าหนี้, สิทธิที่โอนไม่ได้ 303-4, วิธีการโอน 306, ผล 305, 307, 308)
    15. ความระงับแห่งหนี้ (อย่าลืมผู้ค้ำ 698, ผู้รับจำนอง 744, ผู้รับจำนำ 769 หลุดพ้นจากความรับผิดด้วย)

-การชำระหนี้

-ปลดหนี้ (หนี้นั้นแม้ไม่ต้องทำเป็นหนังสือแต่ถ้ามีการทำเป็นหนังสือแล้วอยู่ภายใต้ 340 ด้วย)

-หักกลบลบหนี้ (เจ้าหนี้ลูกหนี้ผูกพันกัน, วัตถุแห่งหนี้เป็นอย่างเดียวกัน, ถึงกำหนดชำระหนี้ทั้ง 2 หนี้, แสดงเจตนา, ไม่ต้องห้าม 6 กรณี, ไม่ต้องฟ้องแย้งขอหักกลบได้, ใช้กับ วิพ 293 ด้วย)

-แปลงหนี้ (มีหนี้เดิม, เปลี่ยนสาระสำคัญแห่งหนี้, ประสงค์ระงับหนี้เดิม, หนี้ใหม่ต้องสมบูรณ์)

-หนี้เกลื่อนกลืนกัน

หมายเหตุ ในเรื่องหนี้บุคคลภายนอกจะเข้ามาเป็นเจ้าหนี้ได้ 3 กรณี

1. โอนสิทธิเรียกร้อง 2.รับช่วงสิทธิ 3.แปลงหนี้ใหม่

ทรัพย์

    1. บททั่วไป 1298-1307
    2. การได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ 1308-1312, 1329-1332, 1336, 1338, 1349, 1350, 1356-9
    3. สิทธิครอบครอง 1367, 1373, 1375 ว2, 1378, 1382
    4. ภาระจำยอม 1387, 1399, 1400, 1401

ยืม, ค้ำประกัน, จำนอง, จำนำ, ออกข้อสอบอัยการแทบทุกปี

 กลับไปหน้าเดิม